ชุดติดตั้งออนกริดลดค่าไฟ
สำหรับลดค่าไฟในตอนกลางวัน ระบบไฟ Single Phase 220V
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด 1,600วัตต์ ลดค่าไฟ 216 ยูนิต ประมาณ 972 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด 1,750วัตต์ ลดค่าไฟ 236 ยูนิต ประมาณ 1,063 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด 1,920วัตต์ ลดค่าไฟ 259 ยูนิต ประมาณ 1,166 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด 2,240วัตต์ ลดค่าไฟ 302 ยูนิต ประมาณ 1,361 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด 2,560วัตต์ ลดค่าไฟ 346 ยูนิต ประมาณ 1,555 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด PEA MEA 2,560วัตต์ ลดค่าไฟ 346 ยูนิต ประมาณ 1,555 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด 2,880วัตต์ ลดค่าไฟ 389 ยูนิต ประมาณ 1,750 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด 3,200วัตต์ ลดค่าไฟ 432 ยูนิต ประมาณ 1,944 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด PEA MEA 3,200วัตต์ ลดค่าไฟ 432 ยูนิต ประมาณ 1,944 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด 3,840วัตต์ ลดค่าไฟ 518 ยูนิต ประมาณ 2,333 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด PEA MEA 3,840วัตต์ ลดค่าไฟ 518 ยูนิต ประมาณ 2,333 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด 4,000W ลดค่าไฟ 530 ยูนิต ประมาณ 2,500 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด PEA MEA 4,480วัตต์ ลดค่าไฟ 605 ยูนิต ประมาณ 2,722 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด 5,120วัตต์ ลดค่าไฟ 691 ยูนิต ประมาณ 3,110 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด PEA MEA 5,120วัตต์ ลดค่าไฟ 691 ยูนิต ประมาณ 3,110 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด PEA MEA 5,760วัตต์ ลดค่าไฟ 778 ยูนิต ประมาณ 3,499 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด PEA MEA 6,400วัตต์ ลดค่าไฟ 864 ยูนิต ประมาณ 3,888 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด PEA MEA 7,040วัตต์ ลดค่าไฟ 950 ยูนิต ประมาณ 4,277 บาท ต่อเดือน
|
 |
ติดตั้งโซลาร์เซลล์ บนหลังคา 3 เฟส แบบออนกริด ขนาด 100 กิโลวัตต์ แผงโซลาร์ Mono 400W
|
 |
ชุดติดตั้งออนกริด 3 เฟส
สำหรับลดค่าไฟในตอนกลางวัน ระบบไฟ 3 Phase 380V
|
ออกแบบติดตั้ง ระบบออนกริด 3เฟส โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล โรงงาน
|
|
On-grid System ระบบโซลาร์เซลล์ แบบออนกริด
On-grid System ติดตั้งระบบพลังงานแสงอาทิตย์ แบบออนกริด เป็นระบบโซลาร์เซลล์ แบบต่อเข้ากับระบบสายส่งจากการไฟฟ้า การผลิตไฟฟ้าระบบนี้ จะมีแผงโซลาร์เซลล์ สำหรับกำเนิดไฟฟ้า จ่ายไฟให้กับกริดไทอินเวอร์เตอร์ แปลงจากไฟกระแสตรง เป็นไฟกระแสสลับ ต่อกับระบบไฟฟ้าภายในบ้าน ร่วมกับระบบไฟจากการไฟฟ้า
จุดเด่นของระบบออนกริด บ้านที่ติดตั้งระบบออนกริด จะมีแหล่งจ่ายไฟ 2 ทาง ทางหนึ่งจากการไฟฟ้า และอีกทางหนึ่งจากโซลาร์เซลล์ ระบบไฟที่ผลิตได้จากโซลาร์เซลล์ จะแปลงไฟโดยอินเวอร์เตอร์ และสามารถต่อไฟร่วมกับ ระบบไฟจากการไฟฟ้าได้ ไม่ต้องทำระบบสลับไฟใดๆทั้งสิ้น สามารถใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิด โดยไม่ใช้แบตเตอรี่
ระบบนี้ไม่ต้องคำนึงว่า Load ในบ้านใช้งานมากน้อยเพียงใด ระบบไฟโซลาร์เซลล์ จะช่วยลดค่าไฟลงบางส่วนเท่านั้น ตามกำลังที่ผลิตได้ หากใช้ไฟมากกว่าระบบโซลาร์ผลิตได้ จะไปดึงไฟจากการไฟฟ้านำมาใช้ ระบบนี้สามารถติดชุดใหญ่ หรือชุดเล็ก ตามงบประมาณ แต่ควรคำนวณขนาดให้เหมาะสม
อินเวอร์เตอร์ แบบออนกริด จะทำงานเมื่อมีไฟจากแผงโซลาร์เซลล์ และมีไฟจากการไฟฟ้า ไฟฟ้าที่ผลิตได้จากระบบโซลาร์เซลล์ เป็นไฟฟ้าที่ได้มาใช้ฟรี ตอนเย็นใกล้ค่ำโวลท์ของแผงโซลาร์จะลดลงเรื่อยๆ เมื่อต่ำถึงเกณฑ์ที่กำหนด อินเวอร์เตอร์จะปิดตัวลงอัตโนมัติ รอรุ่งเช้าของวันใหม่ เมื่อมีแสงสว่าง โวลท์ของแผงโซลาร์จะค่อยๆสูงขึ้น ทำให้อินเวอร์เตอร์กลับมาทำงานอีกครั้ง
จุดด้อยของระบบออนกริด ระบบไฟจะไม่สามารถใช้งานกลางคืนได้ กลางคืนจะใช้ไฟจากการไฟฟ้า สำหรับตอนกลางวัน หากไฟจากการไฟฟ้าดับลง อินเวอร์เตอร์จะหยุดการทำงานไปด้วย ถึงแม้ว่าแผงโซลาร์ยังสามารถผลิตไฟได้ก็ตาม เพื่อป้องกันไฟย้อนไปดูดเจ้าหน้าที่ ที่กำลังซ่อมบำรุง
การใช้งานระบบนี้ เหมาะสำหรับสถานที่มีไฟฟ้าใช้ ต้องการประหยัดค่าไฟ หรือลดค่าไฟฟ้า และไม่ควรติดตั้งตัวใหญ่เกินการใช้งาน เนื่องจากไฟที่เหลือใช้ จะจ่ายคืนให้กับการไฟฟ้า(นำไปขายให้บ้านอื่น) ทางการไฟฟ้าจะไม่คำนวณเงินคืนให้ แต่จะคิดเงินเฉพาะส่วนที่เราใช้ไฟจากการไฟฟ้า
วิธีการการออกแบบระบบ
1. คำนวณปริมาณการใช้งานในตอนกลางวัน กี่ยูนิต (KWh) เพื่อเลือกขนาดอินเวอร์เตอร์ให้เหมาะสม
2. ดูสเปคอินเวอร์เตอร์ input DC จากแผงโซลาร์สูงสุดกี่ KW เพื่อออกแบบแผงโซลาร์เซลล์ รวมทั้งดูว่ามีกี่ MPPT เพื่อคำนวณว่าต้องแบ่งแผงเป็นกี่ชุด
3. ดูพิ้นที่ติดตั้ง ว่าเป็นหลังคาแบบใด สามารถติดตั้งแผงโซลาร์ วางติดกันกี่แผง จำนวนกี่ชุด
4. ดูจุดติดตั้ง อินเวอร์เตอร์ กล่องเบรคเกอร์ และการเชื่อมต่อสายไฟฟ้า ตามความเหมาะสม สวยงาม และปลอดภัย

|